วันพฤหัสบดีที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2558

SUFFICIENT ECONOMY


SUFFICIENT ECONOMY/ศรษฐกิจพอเพียง





                เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระราชดำรัสแก่ชาวไทยนับตั้งแต่ พ.ศ. 2517 เป็นต้นมา และถูกพูดถึงอย่างชัดเจนในวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2540 เพื่อเป็นแนวทางการแก้ไขวิกฤตการณ์ทางการเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540 ให้สามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนในกระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ
                Just sufficiency A philosophy that His Majesty King Bhumibol Adulyadej marketplaceCummins Navy His Majesty the King to the people of Thailand from 2517 onwards and was clearly mention on 4 December 2540 to guideEdit the Asian financial crisis in 2540 to be able to survive, sustainable globalization and change.
                 เศรษฐกิจพอเพียงมีบทบาทต่อการกำหนดอุดมการณ์การพัฒนาของประเทศ โดยปัญญาชนในสังคมไทยหลายท่านได้ร่วมแสดงความคิดเห็น อย่างเช่น ศ.นพ.ประเวศ วะสีศ.เสน่ห์ จามริกศ.อภิชัย พันธเสน, และศ.ฉัตรทิพย์ นาถสุภา โดยเชื่อมโยงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเข้ากับวัฒนธรรมชุมชน ซึ่งเคยถูกเสนอมาก่อนหน้าโดยองค์กรนอกภาครัฐจำนวนหนึ่งนับตั้งแต่พุทธทศวรรษ 2520 และได้ช่วยให้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางในสังคมไทย
                 Just have a role in setting the ideological development of the country. By intellectuals in Thailand, many of you have shared comments such as Prof. Dr.. Prawet Wasi, Prof. attractive sneezing Zurich, Prof. APICHAI Puntasen, and Prof. tiered nectar Nat Supa By linking the concept of sufficiency economy into. Community Culture Which had been proposed previously by a number of NGOs Buddhist decade since 2520 and has helped Sufficiency Economy is widely known in Thailand.
                 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้เชิญผู้ทรงคุณวุฒิในทางเศรษฐกิจและสาขาอื่น ๆ มาร่วมกันประมวลและกลั่นกรองพระราชดำรัสเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อบรรจุในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 และได้จัดทำเป็นบทความเรื่อง "ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง" และได้นำความกราบบังคลทูลพระกรุณาขอพระราชทานพระบรมราชวินิจฉัย เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2542 โดยทรงพระกรุณาปรับปรุงแก้ไขพระราชทานและทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้นำบทความที่ทรงแก้ไขแล้วไปเผยแพร่ เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนประชาชนโดยทั่วไป เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542
                   Just have a role in setting the ideological development of the country. By intellectuals in Thailand, many of you have shared comments such as Prof. Dr.. Prawet Wasi, Prof. attractive sneezing Zurich, Prof. APICHAI Puntasen, and Prof. tiered nectar Nat Supa By linking the concept of sufficiency economy into. Community Culture Which had been proposed previously by a number of NGOs Buddhist decade since 2520 and has helped Sufficiency Economy is widely known in Thailand
                    ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ได้รับการเชิดชูจากองค์การสหประชาชาติ ว่าเป็นปรัชญาที่มีประโยชน์ต่อประเทศไทยและนานาประเทศ และสนับสนุนให้ประเทศสมาชิกยึดเป็นแนวทางสู่การพัฒนาแบบยั่งยืนโดยมีนักวิชาการและนักเศรษฐศาสตร์หลายคนเห็นด้วยกับแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง แต่ในขณะเดียวกัน บางสื่อตั้งคำถามถึงการยกย่องขององค์การสหประชาชาติ รวมทั้งความน่าเชื่อถือของรายงานศึกษาและท่าทีขององค์การ
                    This philosophy has been raised by the UN. That is a philosophy that is beneficial to the United States and other countries. And encouraged Member States to adhere to the guidelines for sustainable development with academics and many economists agree with the sufficiency economy.But at the same time Some media questioned regarded the United Nations. As well as the credibility of the report and the attitude of the organization.

  หลักปรัชญา/  philosophy                

                 
...การพัฒนาประเทศจำเป็นต้องทำตามลำดับขั้น ต้องสร้างพื้นฐาน คือ ความพอมีพอกิน พอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่เป็นอันพอควรและปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญและฐานะเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นโดยลำดับต่อไป หากมุ่งแต่จะทุ่มเทสร้างความเจริญ ยกเศรษฐกิจขึ้นให้รวดเร็วแต่ประการเดียว โดยไม่ให้แผนปฏิบัติการสัมพันธ์กับสภาวะของประเทศและของประชาชนโดยสอดคล้องด้วย ก็จะเกิดความไม่สมดุลในเรื่องต่าง ๆ ขึ้น ซึ่งอาจกลายเป็นความยุ่งยากล้มเหลวได้ในที่สุด...
— พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ณ หอประชุมมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2517


Developing countries need to follow the order. The basis is enough to create a So some of the most moderate and pragmatic now. Gradually build gradually strengthen as economic growth and the higher order. But if the aim is dedicated to creating prosperity. Quickly lift the economy up to the sole. Without an action plan related to the state of the country and its citizens, in accordance with. It will be an imbalance in a subject which may become a failure, frustration has finally

                                  royal guidance The Graduation Ceremony Kasetsart University Auditorium Thursday, July 18, 2517
            เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่ยึดหลักทางสายกลาง    ที่ชี้แนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัติของประชาชนในทุกระดับให้ดำเนินไปในทางสายกลาง  มีความพอเพียง และมีความพร้อมที่จะจัดการต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง ซึ่งจะต้องอาศัยความรอบรู้ รอบคอบ และระมัดระวัง ในการวางแผนและดำเนินการทุกขั้นตอน ทั้งนี้ เศรษฐกิจพอเพียงเป็นการดำเนินชีวิตอย่างสมดุลและยั่งยืน เพื่อให้สามารถอยู่ได้แม้ในโลกโลกาภิวัตน์ที่มีการแข่งขันสูง
              Sufficiency Economy philosophy is based on the middle path I have pointed to the existence and practice of people at all levels to carry over in the middle. There is just enough And is well equipped to manage the impact of change. This will require wisdom and prudence. In the planning and execution of all phases of the sufficiency economy is well-balanced and sustainable lifestyle. To be able to live even in the highly competitive world of globalization.
                ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ทรงปรับปรุงพระราชทานเป็นที่มาของนิยาม "3 ห่วง 2 เงื่อนไข" ที่คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นำมาใช้ในการรณรงค์เผยแพร่ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงผ่านช่องทางสื่อต่าง ๆ อยู่ในปัจจุบัน ซึ่งประกอบด้วยความ "พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน" บนเงื่อนไข "ความรู้" และ "คุณธรรม"

                   Philosophy of Sufficiency Economy has improved under the definition of "third loop two conditions," the Subcommittee economic self-sufficiency. Office of the National Economic and Social Development Board Used in the campaign published a philosophy of economic self-sufficiency through various media channels available today. Which includes "measurable realistic immunity" on the terms "knowledge" and "morality".


             ดร.จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา ประธานคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง อธิบายถึงการพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ว่า เป็นการพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาท โดยคำนึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวตลอดจนการใช้ความรู้ ความรอบคอบละคุณธรรมประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทำต่าง ๆ ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไม่มากและไม่น้อยจนเกินไป ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่พอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การใช้หลักเหตุผลในการตัดสินใจเรื่องต่าง ๆ โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นอย่างรอบคอบ การมีภูมิคุ้มกันที่ดี หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับต่อผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงรอบตัว ปัจจัยเหล่านี้จะเกิดขึ้นได้นั้น จะต้องอาศัยความรู้ และคุณธรรม เป็นเงื่อนไขพื้นฐาน กล่าวคือ เงื่อนไขความรู้ หมายถึง ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังในการดำเนินชีวิตและการประกอบการงาน ส่วนเงื่อนไขคุณธรรม คือ การยึดถือคุณธรรมต่าง ๆ อาทิ ความซื่อสัตย์สุจริต ความอดทน ความเพียร การมุ่งต่อประโยชน์ส่วนรวมและการแบ่งปัน ฯลฯ ตลอดเวลาที่ประยุกต์ใช้ปรัชญา
              Dr. Chirayu Isarangkun Na Ayudhya Chairman of the Sub-sufficient economy. Describes the development of the principles of the sufficiency economy that is based on the development of the Middle and vigilance with regard to moderation, reasonableness and good body immunity through the use of knowledge. Providence merits of the plan. The decisions and actions of modesty means the fit is not much and not too little. Not hurting themselves and others, such as production and consumption in moderation, reasonableness means using rational decisions based on a variety of factors involved. The results are expected to be more carefully. Having a good immune meant to get ready for the consequences arising from the changes around them. These factors will happen then. Requires knowledge and virtue is the basic condition is a condition that refers to knowledge, care and caution in lifestyle and assembly work. The condition is to take the moral virtues such as honesty, patience, perseverance and commitment to the common good and to share, and constantly applied philosophy.
             อภิชัย พันธเสน ผู้อำนวยการสถาบันการจัดการเพื่อชนบทและสังคม ได้จัดแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงว่าเป็น "ข้อเสนอในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจตามแนวทางของพุทธธรรมอย่างแท้จริง" ทั้งนี้เนื่องจากในพระราชดำรัสหนึ่ง ได้ให้คำอธิบายถึง เศรษฐกิจพอเพียง ว่า "คือความพอประมาณ ซื่อตรง ไม่โลภมาก และต้องไม่เบียดเบียนผู้อื่น"
ระบบเศรษฐกิจพอเพียงมุ่งเน้นให้บุคคลสามารถประกอบอาชีพได้อย่างยั่งยืน และใช้จ่ายเงินให้ได้มาอย่างพอเพียงและประหยัด ตามกำลังของเงินของบุคคลนั้น โดยปราศจากการกู้หนี้ยืมสิน และถ้ามีเงินเหลือ ก็แบ่งเก็บออมไว้บางส่วน ช่วยเหลือผู้อื่นบางส่วน และอาจจะใช้จ่ายมาเพื่อปัจจัยเสริมอีกบางส่วน สาเหตุที่แนวทางการดำรงชีวิตอย่างพอเพียง ได้ถูกกล่าวถึงอย่างกว้างขวางในขณะนี้ เพราะสภาพการดำรงชีวิตของสังคมทุนนิยมในปัจจุบันได้ถูกปลูกฝัง สร้าง หรือกระตุ้น ให้เกิดการใช้จ่ายอย่างเกินตัว ในเรื่องที่ไม่เกี่ยวข้องหรือเกินกว่าปัจจัยในการดำรงชีวิต เช่น การบริโภคเกินตัว ความบันเทิงหลากหลายรูปแบบ ความสวยความงาม การแต่งตัวตามแฟชั่น การพนันหรือเสี่ยงโชค เป็นต้น จนทำให้ไม่มีเงินเพียงพอเพื่อตอบสนองความต้องการเหล่านั้น ส่งผลให้เกิดการกู้หนี้ยืมสิน เกิดเป็นวัฏจักรที่บุคคลหนึ่งไม่สามารถหลุดออกมาได้ ถ้าไม่เปลี่ยนแนวทางในการดำรงชีวิต
ซึ่ง ดร. สุเมธ ตันติเวชกุล ได้กล่าวว่า "หลาย ๆ คนกลับมาใช้ชีวิตอย่างคนจน ซึ่งเป็นการปรับตัวเข้าสู่คุณภาพ" และ "การลงมือทำด้วยความมีเหตุมีผล เป็นคุณค่าของเศรษฐกิจพอเพียง
         APICHAI Puntasen Director of Rural and Social Management Institute. Has held that the concept of sufficiency economy. "The proposal to carry out economic activities under the guidance of a true morality" is due in one speech. The descriptor Just as "moral restraint is not greedy and not hurting others."
         Sufficiency economy oriented individuals to work sustainably. And spend money to obtain sufficient and economically. According to the amount of that person. Without the debt. And if there is money left Share some of the savings. Some of helping others And may be used to supplement the other. The reason is that the life sufficiently. Has been widely discussed now. Because of the living conditions of capitalist society is currently being cultivated create or stimulate spending beyond. Irrelevant or exceed the factors in life, such as over-consumption. Entertainment variants Beauty The fashionably dressed Gambling or lottery or make enough money to meet those needs. The resulting debt. A cycle that one person can not come off. If not, change the approach to life.


         Which Dr. Sumet Tantivejakul said, "Many people come back to life with the poor. Which  was adapted into quality "and" doing with Lange. The value of the Sufficiency Economy



 thank web   from   https://th.wikipedia.org/wiki/

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น